home

ข่าวประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (16-30 ก.ย. 60)

มาเลเซีย (16-30 ก.ย. 60)

ตุลาคม 17, 2017

มาเลเซีย และอินโดนีเซียเพิ่มการลาดตระเวนชายแดนมุ่งลดความรุนแรง มาเลเซีย และอินโดนีเซียจะเพิ่มจุดตรวจการณ์บริเวณชายแดนอีก 5 จุด ในซาบาห์ ซาราวัก และกาลิมันตันเพื่อระงับการเคลื่อนไหวของกลุ่มผู้ไม่ประสงค์ดีในภูมิภาค ดาโต๊ะ ซรี ฮิชามมุดดิน บิน ตุน ฮุสเซน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมมาเลเซีย กล่าวว่าภายหลังจากที่ได้หารือกับรีอามิซาร์ด รีอาคูดูรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมอินโดนีเซียในระหว่างการประชุมทั่วไปของคณะกรรมการชายแดนครั้งที่ 40 นายฮิชามมุดดินกล่าวว่าทั้งสองประเทศเห็นพ้องต้องกันว่ามีความจำเป็นมากที่จะต้องรักษาความมั่นคงในภูมิภาคซึ่งการเพิ่มจุดตรวจอีกห้าจุดนั้นจะช่วยสร้างความมั่นใจว่าการลักลอบเคลื่อนไหวของกลุ่มผู้ไม่ประสงค์ดีจะยุติลง นายฮิชามมุดดินเสริมว่านอกจากการเพิ่มจุดตรวจแล้ว การเพิ่มการลาดตระเวนทางทะเลร่วมกันในระดับไตรภาคีโดยมาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ รวมถึงบรูไนและสิงคโปร์ในฐานะผู้สังเกตการณ์ก็จะถูกขับเคลื่อนในยุทธศาสตร์ “สามง่าม” ร่วมไปกับการลาดตระเวนบนบก และอากาศ โดยการลาดตระเวนร่วมทางอากาศนั้นจะเริ่มในวันที่ 12... Read More »

มาเลเซีย (1-16 ก.ย. 60)

มาเลเซีย (1-16 ก.ย. 60)

ตุลาคม 17, 2017

เรือรบมาเลเซีย – ฟิลิปปินส์ร่วมซ้อมรบ เรือรบมาเลเซีย และฟิลิปปินส์ต่างเตรียมพร้อมฝึกรบกองกำลังทางน้ำร่วมกัน เรือรบฟิลิปปินส์ได้ออกเดินทางมายังบรูไน และมาเลเซีย กลายเป็นจุดสนใจของการฝึกอบกรมและซ้อมรบกองกำลังทางน้ำระหว่างทัพเรือในกรุงมะนิลา และกรุงกัวลาลัมเปอร์ซึ่งคาดว่าจะเริ่มเปิดฉากในกลางเดือนตุลาคม มาเลเซียและฟิลิปปินส์ รวมถึงสมาชิกของสมาคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สหรัฐอเมริกา (ASEAN) มีความพยายามอย่างต่อเนื่องในการสร้างความร่วมมือในการรับมือกับภัยคุกคามด้านความมั่นคงมากขึ้น ทั้งการก่อการร้าย การละเมิดลิขสิทธิ์และการประมงที่ผิดกฎหมาย ความร่วมมืออย่างต่อเนื่องระหว่างทั้งสองฝ่ายครอบคลุมมิติที่หลากหลาย ไม่ได้มีแค่มิติการพัฒนาเท่านั้น ความร่วมมือระดับที่น่าจับตามองคือการลาดตระเวนระดับทวิภาคีในทะเลซูลู – สุลาเวสี โดยความร่วมมือครอบคลุมในพื้นที่บางส่วนของชายแดนระหว่างตะวันออกของมาเลเซีย และภาคใต้ของฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในกรอบความร่วมมือด้านความมั่นคงระดับทวิภาคี คือ MTA MALPHI SEA (Maritime training activity... Read More »

มาเลเซีย (16 ส.ค.-30 ส.ค. 60)

มาเลเซีย (16 ส.ค.-30 ส.ค. 60)

ตุลาคม 7, 2017

มาเลเซียเปิดตัวฐานทัพทางทะเลใหม่ใกล้เกาะเปดราบรังกา เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมามาเลเซียได้เปิดตัวฐานการเดินเรือแห่งใหม่ที่อยู่ใกล้กับเปดราบลังกา ฐานทัพทะเลอาบูบาการ์ (Abu Bakar) โดยมีอิบราฮิม อิสมาอิล อิสคานดาร์ สุลต่านแห่งรัฐยะโฮร์ พร้อมกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงอื่น ๆ รวมทั้ง พลเรือเอกอามัด คามารุลชามาน อามัด บาดารุดดิน ผู้บัญชาการทหารเรือมาเลเซีย ตามคำแถลงในวิดีโอที่ออกโดยสำนักงานข่าวกรองของรัฐยะโฮร์ สุลต่านได้สร้างฐานทัพเรือซึ่งเสร็จสมบูรณ์เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2559 ฐานทัพเรือประกอบไปด้วยอาคารสองหลังที่อยู่ห่างห่างกันประมาณ 316.6 เมตร โดยมีท่าเทียบเรือประภาคาร และเฮลิคอปเตอร์ เชื่อมโยงไปถึงหน่วยงานต่างๆ ของมาเลเซีย โดยสุลต่านรัฐยะโฮร์กล่าวว่าฐานทัพดังกล่าวจะเป็นสถานที่อำนวยความสะดวกแก่ฝ่ายความมั่นคงของรัฐ... Read More »

มาเลเซีย (1-15 ส.ค. 60)

มาเลเซีย (1-15 ส.ค. 60)

กันยายน 3, 2017

นายวัน จูไนดี ตวนกู จาฟาร์รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาเลเซียกล่าวว่าทางรัฐบาลมาเลเซียพร้อมส่งนักดับเพลิงไปช่วยอินโดนีเซียดับไฟป่าหากสถานการณ์ยังไม่คลี่คลาย นายจาฟาร์กล่าวว่ารัฐบาลมาเลเซียมีความกังวลต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศเพื่อนบ้านอย่างอินโดนีเซียมาก และยินดีให้ความช่วยเหลือในทุกเมื่อ โดยเขาได้พูดคุยกับนายชาฮีดัน คัซซิมผู้รับผิดชอบแผนกดับเพลิงและทีมช่วยเหลือกู้ภัยจากภัยพิบัติมาเลเซีย (Smart) ซึ่งนายคัซซิมได้กล่าวยืนยันว่าทีมงานของเขาพร้อมไปช่วยอินโดนีเซียทันทีที่ขอมา เมื่อเร็ว ๆ นี้หน่วยงานบรรเทาสาธารณภัยอินโดนีเซีย ได้ประกาศเตือนภัยคุกคามจากไฟป่าที่เพิ่มขึ้น อันเป็นผลมาจากภัยแล้งในประเทศที่คาดว่าจะมีสถานการณ์เลวร้ายลง ล่าสุดได้ตรวจพบว่ามีจุดเสี่ยงภัยบางแห่งในจังหวัดอาเจะห์ซึ่งทำให้เกิดวิกฤตหมอกควันตามมา อย่างไรก็ตามสำนักงานการฟื้นฟูสมรรถภาพดินพรุของอินโดนีเซีย กล่าวว่าเพื่อนบ้าน เช่น มาเลเซียและสิงคโปร์จะไม่ได้รับผลกระทบจากหมอกควัน เนื่องจากทางอินโดนีเซียได้ดำเนินการตามขั้นตอนต่างๆ เพื่อหยุดการลุกไหม้ของของไฟป่าแล้ว หลังจากที่นายวัน จูไนดีได้พบกับผู้ว่าการรัฐ Riau และ Jambi แล้วเขากล่าวว่าเขากำลังวางแผนที่จะพบกับผู้ว่าราชการจังหวัดอาเจะห์เพื่อหารือและเตรียมรับมือเรื่องนี้ต่อไป ที่มา thestraitstimes.com... Read More »

มาเลเซีย (16-31 ก.ค. 60)

มาเลเซีย (16-31 ก.ค. 60)

กันยายน 1, 2017

รัฐกลันตันของมาเลเซีย ได้มีการปรับปรุงกฎหมายอิสลามของตนเพื่ออนุญาตให้มีการลงโทษด้วยการเฆี่ยนตีในที่สาธารณะกระตุ้นให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นการกระทำที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ สภานิติบัญญัติแห่งกลันตันซึ่งปกครองโดยพรรคปาส (the Pan-Malaysian Islamic Party) PAS ได้อนุมัติการแก้ไขกฎหมายชารีอะห์เพื่อให้มีการลงโทษด้วยการเฆี่ยนในที่สาธารณะ โดยก่อนหน้านี้การลงโทษด้วยการเฆี่ยนเป็นสิ่งที่กระทำได้สำหรับสำหรับชาวมุสลิมภายใต้กฎหมายชารีอะห์ในประเทศมาเลเซียแต่ไม่สามารถกระทำได้ในที่สาธารณะ นายโมห์ด อมาร์ นิค อับดุลลาห์ รัฐมนตรีช่วยว่าการรัฐกลันตัน กล่าวภายหลังจากที่มีการลงคะแนนเสียงในสภาต่อการแก้ไขกฎหมายดังกล่าวว่าศาลชารีอะห์จะเป็นผู้พิจารณาว่าการเฆี่ยนนั้นจะกระทำในคุก หรือจะกระทำต่อหน้าสาธารณชน เขากล่าวว่าการลงโทษเป็นไปตามความต้องการของคำสอนทางศาสนา เพราะการลงโทษตามหลักชารีอะห์จะต้องดำเนินการในที่สาธารณะ เขาเสริมว่าพรรคปาส มุ่งผลักดันที่จะนำการลงโทษร้ายแรงตามประมวลกฎหมายอาญาอิสลาม หรือที่เรียกว่า hudud ในรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือที่มีการลงโทษแบบตาต่อตาฟันต่อฟัน เช่น การตัดแขนตัดขาโจรที่โจรกรรม และปาหินใส่ผู้ที่คบชู้จนถึงแก่ความตาย แม้ขณะนี้มาเลเซียมีประชากรชาวมุสลิมกว่า 32 ล้านคน... Read More »

กลันตันแก้ไขกฎหมายเพื่อให้มีการลงโทษในที่สาธารณะ

กลันตันแก้ไขกฎหมายเพื่อให้มีการลงโทษในที่สาธารณะ

สิงหาคม 31, 2017

รัฐกลันตันของมาเลเซีย ได้มีการปรับปรุงกฎหมายอิสลามของตนเพื่ออนุญาตให้มีการลงโทษด้วยการเฆี่ยนตีในที่สาธารณะกระตุ้นให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นการกระทำที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ สภานิติบัญญัติแห่งกลันตันซึ่งปกครองโดยพรรคปาส (the Pan-Malaysian Islamic Party) PAS ได้อนุมัติการแก้ไขกฎหมายชารีอะห์เพื่อให้มีการลงโทษด้วยการเฆี่ยนในที่สาธารณะ โดยก่อนหน้านี้การลงโทษด้วยการเฆี่ยนเป็นสิ่งที่กระทำได้สำหรับสำหรับชาวมุสลิมภายใต้กฎหมายชารีอะห์ในประเทศมาเลเซียแต่ไม่สามารถกระทำได้ในที่สาธารณะ นายโมห์ด อมาร์ นิค อับดุลลาห์ รัฐมนตรีช่วยว่าการรัฐกลันตัน กล่าวภายหลังจากที่มีการลงคะแนนเสียงในสภาต่อการแก้ไขกฎหมายดังกล่าวว่าศาลชารีอะห์จะเป็นผู้พิจารณาว่าการเฆี่ยนนั้นจะกระทำในคุก หรือจะกระทำต่อหน้าสาธารณชน เขากล่าวว่าการลงโทษเป็นไปตามความต้องการของคำสอนทางศาสนา เพราะการลงโทษตามหลักชารีอะห์จะต้องดำเนินการในที่สาธารณะ เขาเสริมว่าพรรคปาส มุ่งผลักดันที่จะนำการลงโทษร้ายแรงตามประมวลกฎหมายอาญาอิสลาม หรือที่เรียกว่า hudud ในรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือที่มีการลงโทษแบบตาต่อตาฟันต่อฟัน เช่น การตัดแขนตัดขาโจรที่โจรกรรม และปาหินใส่ผู้ที่คบชู้จนถึงแก่ความตาย แม้ขณะนี้มาเลเซียมีประชากรชาวมุสลิมกว่า 32 ล้านคน... Read More »

มาเลเซีย (1-15 ก.ค. 60)

มาเลเซีย (1-15 ก.ค. 60)

สิงหาคม 15, 2017

Uber และ Grab เปิดให้บริการอย่างถูกกฎหมายแล้วในมาเลเซีย สำหรับขั้นตอนแรกในการปรับเปลี่ยนให้บริการ e-Hailing เช่น Uber และ Grab ถูกกฎหมาย เกิดขึ้นเมื่อมีการแก้ไขเพิ่มเติมในพระราชบัญญัติการขนส่งสาธารณะทางบก พ.ศ. 2553 และพระราชบัญญัติคณะกรรมการอนุญาตให้ใช้รถยนต์เพื่อการพาณิชย์ปีพ. ศ. 2530 โดยพรบ.ทั้งสองฉบับได้ผ่านสภาผู้แทนราษฎรของมาเลเซีย การแก้ไขเพิ่มเติมจะต้องผ่านวุฒิสภา และประกาศในราชกิจจานุเบกษาก่อนที่จะมีผลใช้บังคับ ภายใต้การแก้ไขพรบ.ดังกล่าว ผู้ประกอบการจะต้องเป็นเจ้าของใบอนุญาตประกอบธุรกิจกลางที่ออกโดยหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลและพิจารณาออกใบอนุญาต ผู้ประกอบธุรกิจสามารถต่ออายุใบอนุญาตได้ แต่จะไม่สามารถมอบกิจการหรือโอนให้ผู้อื่นไปประกอบธุรกิจแทนตนได้ โดยคณะกรรมการการขนส่งสาธารณะทางบก (SPAD) เป็นหน่วยงานผู้มีอำนาจพิจารณาออกใบอนุญาตในคาบสมุทรมาเลเซีย ขณะที่คณะกรรมการอนุญาตให้ใช้สิทธิ์รถยนต์เชิงพาณิชย์ (CVLB) เป็นผู้มีอำนาจในการพิจารณาออกใบอนุญาตในซาบาห์และรัฐซาราวัก... Read More »

มาเลเซีย (16-30 มิ.ย. 60)

มาเลเซีย (16-30 มิ.ย. 60)

สิงหาคม 2, 2017

กรีนพีซได้เปิดสำนักงานแห่งแรกในมาเลเซีย เพื่อการเคลื่อนไหวอย่างเป็นทางการในประเทศ กรีนพีซ สำนักงานมาเลเซียเป็นสำนักงานแห่งที่สี่ขององค์การนอกภาครัฐด้านสิ่งแวดล้อมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หลังจากที่ไปตั้งสำนักงานที่ฟิลิปปินส์ ไทยและอินโดนีเซียมาแล้ว สำนักงานกรีนพีซสาขามาเลเซียตั้งอยู่ที่บริกส์ฟิลด์ กรุงกัวลาลัมเปอร์ เป็นฐานที่มั่นสำหรับพนักงานกรีนพีซมาเลเซียจำนวน 10 คน ในช่วงเปิดตัว นายนาเดเรฟ ซาโน กรรมการบริหารกรีนพีซเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้กล่าวต้อนรับและขอบคุณสำหรับการสนับสนุนของผู้เข้าร่วมงานที่ประกอบไปด้วยหุ้นส่วนที่เป็นองค์กรเอกชน กลุ่มอาสาสมัคร และเครือข่ายพันธมิตรขององค์กร นายซาโนกล่าวว่าการตั้งสำนักงานในมาเลเซียนั้นเป็นก้าวสำคัญในการปกป้องปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ร้ายแรงในภูมิภาคนี้ เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การตัดไม้ทำลายป่า ปัญหาพลังงาน และปัญหาในระบบ เช่น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และการทุจริต โดยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถือเป็นพื้นที่สำคัญสำหรับกรีนพีซในการบรรลุเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม ในส่วนของมาเลเซียนั้นเป็นชุมชนที่สำคัญในการทำงานของกรีนพีซ เพื่อสร้างการตระหนักถึงปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มุ่งรักษาไว้ซึ่งความเจริญเติบโต... Read More »

มาเลเซีย (1-15 มิ.ย. 60)

มาเลเซีย (1-15 มิ.ย. 60)

มิถุนายน 23, 2017

i-City เมืองอิเล็กทรอนิคส์ในมาเลเซียได้รับการจัดอันดับให้เป็นหนึ่งใน 25 อันดับแรกของสถานที่ที่สดใสและมีสีสันที่สุดในโลกโดยซีเอ็นเอ็น เมืองดังกล่าวตั้งอยู่ในชาห์อาลัม เมืองเซลังงอร์ ได้รับการจัดเป็นอันดับที่ 21 ในรายชื่อร่วมกับสถานที่ที่มีชื่อเสียงระดับโลกอื่น ๆ ซึ่งแนวปะการัง Great Barrier Reef ของออสเตรเลียนั้นได้รับการจัดอันดับให้อยู่ในอันดับที่ 1 ส่วนสถานที่ชั้นนำอื่น ๆ ในรายการ ได้แก่ ทุ่งดอกทิวลิปในเนเธอร์แลนด์ซึ่งมาเป็น (อันดับที่ 13) นครริโอเดอจาเนโรในบราซิล (อันดับที่ 16) ไทม์สแควร์ในนิวยอร์ก (อันดับที่23) และเวนิส (อันดับที่... Read More »

มาเลเซีย (16 – 31 พ.ค. 60)

มาเลเซีย (16 – 31 พ.ค. 60)

มิถุนายน 5, 2017

มาเลเซียเพิ่มมาตรการการรักษาความปลอดภัยมากขึ้น หลังเกิดเหตุการณ์การก่อการร้ายเกิดขึ้นในหลายพื้นที่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  ดาโต๊ะ ซรี ฮิชามมุดดิน บิน ตุน ฮุสเซน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมมาเลเซียกล่าวว่าฝ่ายความมั่นคงได้ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดภายหลังเกิดเหตุโจมตีและวางระเบิดในประเทศเพื่อนบ้าน มาตรการที่ทางมาเลเซียใช้เพื่อเฝ้าระวังเหตุร้ายที่อาจเกิดขึ้น ได้แก่ การให้กองทัพเพิ่มความเข้มงวดในการรักษาความปลอดภัยตามบริเวณชายแดนมากขึ้น เนื่องจากไทย อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ล้วนมีชายแดนติดกับมาเลเซีย ในส่วนของความปลอดภัยทางทะเลนั้นได้มีการเพิ่มเรือลาดตระเวนอีกสองลำเพื่อดูแลน่านน้ำนอกซาบาห์ พร้อมกับการวางกองกำลัง Quick Reaction Force (QRF) ไว้ตามเกาะของน่านน้ำซาบาห์ และยังมีการเพิ่มการลาดตระเวนในพื้นที่ที่ได้รับการระบุว่าเป็นจุดเข้าสู่ภาคใต้ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้มีการเพิ่มกองกำลังทหารเสริมในเซนเทราวสี (Cenderawasih) และลาฮัด ดาตู (Lahad Datu) เพื่อให้แน่ใจว่าชายฝั่งของเกาะนี้ปลอดภัย นายฮิชามมุดดินเสริมว่าเขาได้ติดต่อกับรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคงในสามประเทศ... Read More »

เรื่องล่าสุด

บรูไน (16 – 30 พ.ย. 60)

บรูไน (16 – 30 พ.ย. 60)

ธันวาคม 11, 2017

1. บรูไนคาดว่าเศรษฐกิจจะฟื้นตัวเล็กน้อยในปี 2560 จากการปรับตัวในเชิงบวกที่การผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติขยายตัวดีขึ้น รวมไปถึงเป็นผลมาจากการขยายตัวของการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ 2. บรูไนแสดงความมุ่งมั่นว่าพร้อมจะสร้างระบบการเงินที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันการฟอกเงินและกิจกรรมระดมเงินทุนเพื่อสนับสนุนการก่อการร้าย

เศรษฐกิจบรูไนฟื้นตัวร้อยละ 0.4 ในปี 2560

เศรษฐกิจบรูไนฟื้นตัวร้อยละ 0.4 ในปี 2560

ธันวาคม 11, 2017

บรูไนคาดว่าเศรษฐกิจจะฟื้นตัวเล็กน้อยในปี 2560 จากการปรับตัวในเชิงบวกที่การผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติขยายตัวดีขึ้น รวมไปถึงเป็นผลมาจากการขยายตัวของการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ  รวมถึงโครงการก่อสร้างมีความคืบหน้าตามการประเมินของสำนักงานวิจัยเศรษฐกิจมหภาคอาเซียน+3 (AMRO) ซึ่งได้มีการเยือนประจำปีเพื่อจัดทำรายงานด้านเศรษฐกิจระหว่างวันที่ 30 ตุลาคม – 3 พฤศจิกายน ศกนี้ เศรษฐกิจของบรูไนกำลังฟื้นตัวมาอยู่ที่ร้อยละ 0.4...

คลังข้อมูล

พบกับเราที่ Facebook

Tweets ล่าสุด

No tweets found.

แผนที่อาเซียน